ตัวอย่างการใช้ MFW-P1 ป้อนแรงกระทำที่ Support (Boundary)
จากตัวอย่างโครงสร้างจำลองของคานต่อเนื่อง 2 ช่วง โดยกำหนดให้มี 5 Nodes, 4 Elements และมีแรงกระทำที่จุดรองรับ (support) ดังรูป
จะเห็นได้ว่าที่ Node 3 กับ 5 ซึงเป็นจุดรองรับมี แรงแนวราบ (Px) = 20 kg , แรงแนวดิ่ง (Py) = 50 kg และ 35 kg กระทำตามลำดับ
... เมื่อป้อนข้อมูลของ Nodes, Element และ Materials แล้วก็มาถึงการป้อน Loads
1. ช่อง Element ใส่ชิ้นที่ 3
2. ช่อง Px (แรงแนวราบ) ใส่ค่า 20 kg
3. ช่อง Py (แรงแนวดิ่ง) ใส่ค่า -50 kg
4. ช่อง d (ระยะทางที่มีแรงกระทำวัดจาก Node เริ่มต้น) ในชิ้นนี้ใส่ค่า 0 m (เพราะให้ชิ้นที่ 3 เริ่มจาก node 3 ไป node 4)
5. กด OK เพื่อยืนยัน
จากนั้นป้อนชิ้น (Element) ที่ 4 ต่อ แต่ระยะทาง (d) ที่ Load กระทำจะเป็นที่ Node ปลายแทนดังรูป
1. ที่เมนู Loads
2. เลือก Element Load data
3. เลือก Point load
1. ช่อง Element ใส่ชิ้นที่ 3
2. ช่อง Px (แรงแนวราบ) ใส่ค่า 20 kg
3. ช่อง Py (แรงแนวดิ่ง) ใส่ค่า -50 kg
4. ช่อง d (ระยะทางที่มีแรงกระทำวัดจาก Node เริ่มต้น) ในชิ้นนี้ใส่ค่า 0 m (เพราะให้ชิ้นที่ 3 เริ่มจาก node 3 ไป node 4)
5. กด OK เพื่อยืนยัน
จากนั้นป้อนชิ้น (Element) ที่ 4 ต่อ แต่ระยะทาง (d) ที่ Load กระทำจะเป็นที่ Node ปลายแทนดังรูป
ตรวจสอบการใส่ Load แบบกราฟิก โดยเลือกโชว์ที่โหมด Graphics Menu ที่ตำแหน่งของ Load Case คลิกช่อง Combination เลือก Load Case ที่ 1
ที่ช่อง Show Loads จะแสดงชนิดของ Load ให้ติ๊กที่ช่อง Point Load ก็จะปรากฏลูกศรแสดงแรงและทิศทางตามที่กำหนด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น